mother tongue curriculum

.

พยัญชนะในภาษาม้ง มีทั้งหมด 56 ตัวแบ่งเป็น 1) พยัญชนะเดี่ยว 17 ตัว , 2) พยัญชนะผสม 2 ตัว จำนวน 22 ตัว 3) พยัญชนะผสม 3 ตัว จำนวน 14 ตัว และ 4) และพยัญชนะผสม 4 ตัว จำนวน 3 ตัว
สระในภาษาม้ง มีทั้งหมด 14 ตัว แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) สระเดี่ยว 6 ตัว (a i e w u o ) 2) สระคู่ 8 ตัว (oo aa ee aw ia au ua ai)
วรรณยุกต์ในภาษาม้ง มี 7 รูป 8 เสียง ดังนี้ m – cim naim s – cim mus g – cim neeg d – cim tod (-) – cim ua v – cim kuv j – cim ntuj b – cim siab
มาเรียนรู้ และผันเสียงวรรณยุกต์ไปด้วยกัน (-)-จิอัว s-จิหมู่ m-จิเนี่ย j-จิดู้ b-จิเซี๊ย v-จิกู๋/d-จิต๋อ g-จิเนง
การผสมคำในภาษาม้งมีหลักการง่าย ๆ คือ ” พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์” เช่น KUV = K(พยัญชนะ) + U(สระ) + V (วรรณยุกต์)
คำนามและสรรพนามทีใช้ในภาษาม้ง
โครงสร้างและชนิดประโยคในภาษาม้ง
การนับเลข บอกวัน เดือน ปี และเรียนรู้สิต่าง ๆ
อวัยวะในร่างกาย
ระบบเครือญาติ
สัตว์รอบ ๆ ตัวเรา
เรื่องราวความเป็นมา และวิถีชีวิตของชาติพันธุ์ม้ง
คำทักทาย ถามไถ่สารทุกข์สุขดิบ
อาชีพต่าง ๆ
ลงมือปฏิบัติ ค้นคว้า ความรู้